บล.กรุงศรีฯ:

กฟผ. จะได้อานิสงส์จาก Utility Green Tariff (POSITIVE)
  • What’s new

คาดว่าจะเริ่มใช้อัตราค่าไฟฟ้าสีเขียว (Utility Green Tariff) ในช่วงต้นปี 2024

รัฐบาลไทย และ Microsoft ได้เซ็น memorandum of understanding (MOU) เพื่อร่วมมือกันดำเนินการตามวิสัยทัศน์ digital-first, AI-powered Thailand ซึ่งรวมถึงการลงทุนสร้าง data center ในประเทศไทย ซึ่งจะใช้พลังงานจากแหล่ง พลังงานหมุนเวียนเต็ม 100% ทั้งนี้ Utility Green Tariff (UGT) จะเป็นแนวทางที่รองรับความริเริ่มดังกล่าว เราคาดว่า กกพ. จะประกาศอัตรา UGT และเปิดรับคำขอใช้บริการในช่วงต้นปี 2024

  • Analysis

กฟผ. จะเป็นผู้นําตลาด

Utility Green Tariff เป็นแนวทางใหม่ที่มีการเปิดรับฟังความคิดเห็นไปเมื่อปีที่แล้ว โดยแบ่งเป็นสองประเภท ได้แก่ i) UGT-1 ซึ่งเป็นราคาค่าไฟฟ้า (grid electricity price) ที่ผูกอยู่กับค่า Ft บวก premium (มีใบรับรองการใช้พลังงานหมุนเวียน RECs) และไม่ระบุแหล่งพลังงานที่ใช้ และ ii) UGT-2 ซึ่งเป็นอัตราคงที่ในระยะยาว ซึ่งมีการระบุแหล่งพลังงาน อย่างเช่น ลม, แสงอาทิตย์ ฯลฯ โดยกฟผ. จะเป็นผู้ออก I-REC (international renewable certificate) เพียงรายเดียวในประเทศไทย นอกจากนี้ กฟผ. ยังมีกําลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 3.1GW (น้ํ, แสงอาทิตย์, ลม) ซึ่งคิดเป็น 24% ของกําลังการผลิตพลังงานมุเวียนของประเทศ ไทยในปัจจุบัน ย่ิไปกว่านั้น กฟผ. ยังมีสิทธิ์ใน REC สําหรับการประมูล PPA ของ โครงการพลังงานหมุนเวียนรอบใหม่จากรอบท่ี I (5.2GW) เป็นต้นไป ซึ่งคาดว่าจะ เริ่ม COD ในช่วงปี 2024-2030

แล้วทิศทางของ carbon credit ในประเทศไทย (T-VER) เป็นอย่างไร???

EU จะเริ่มใช้กไก Carbon border tax adjustment mechanism (CBAM) โดยมี ผลเต็มที่ในวันที่ 1 มกราคม 2026 จากปัจจุบันที่ carbon credit เป็นเพียภาค สมัครใจเท่านั้น ทั้งนี้ การที่จะปฏิบัติตาม CBAM ประเทศไทยต้องพัฒนากลไกการ กำหนราคา carbon ภาคบังัคับ อย่างเช่น ภาษี carbon, การเก็บค่าธรรมเนียม หรือกลไกการซื้อขาย carbon ที่มีการปล่อยออกมา (emission trading) ดังน้ั T- VER ในปัจจุบันจึงยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยในปัจจบุ นั carbon credit และ I-REC สามาซื้อขายบน platform หรือ แบบทวิภาคี

  • Action/ Recommendation

กฟผ. จะเป็นผู้รวบรวม (aggregator) และเปน็ ผู้นําตลาดของ RE100

เรามองว่า carbon credit/ปริมาณการซื้อขาย I-REC จะพิ่ขึ้นไปเรื่อย ๆ โดย I- REC จะได้รับความนิยมมากกว่า เมื่อเทียบกับ carbon credit จากความยอมรับใน ระดับสากล โดย กฟผ. จะเป็น aggregator หลักเนื่องจาก i) ปริมาณ I-REC เพิ่มข้ึ จากกำลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่จะเพิ่มเข้ามาในอนาคต และ ii) UGT จะเหมาะกับผู้ใช้ไฟฟ้าในภาคอุตสาหกรรมที่อยากลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจกจาก scope ที่ 2

- Advertisement -